วันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

หน้าแรก

บทนำ
          มนุษยสมัยโบราณไดจํ าลองสิ่งที่พบเห็นรอบ ๆ ตัว โดยการขีดเขียนไวตามผนังถํ้ าที่ตน
อาศัยอยู ลักษณะของภาพเปนเพียงเคาโครงอยางงาย มีลายเสนไมกี่เสนคลายการตูนหัวไมขีด
ภาพเหลานี้เปนเสมือนสมุดภาพเลมใหญ ที่บันทึกวิถีชีวิตความเปนอยู ความเชื่อ ที่ตนมีไวใหผู
คนในสมัยตอมา ไดศึกษาความเปนมาตอไป
          สิ่งมีชีวิตในโลกไดมีการวิวัฒนาการอยางไมหยุดยั้ง ชีวิตที่ออนแอลาหลังไมอาจดํ ารง
เผาพันธุอยูได ความพยายามบันทึกภาพตาง ๆ ในอดีต โดยการเขียนจนไดรับการพัฒนาเครื่อง
มือใหมาเปนกลองถายภาพในปจจุบัน
          ภาพถายไดเขามาเกี่ยวของอยางมาก ในชีวิตประจํ าวันของคนเรา ไมวาจะดวยขอดีใน
สวนของตัวมันเอง ที่ใหการรับรูไดอยางมีประสิทธิภาพ หรือความกาวหนาดานเทคโนโลยีการ
ถายภาพ ไดรับการพัฒนาใหรุดหนาอยางไมหยุดยั้ง ไมวาจะเปนกลองถายภาพ ฟลมและ
อุปกรณใชงานไดงาย ราคาไมแพงและมีคุณภาพสูง มีระบบอัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนมัติเขามาชวย
อีกแรง จึงมักพบเห็นภาพปรากฏอยูทั่วไปทั้งในบาน โรงเรียน ตามทองถนน อาจอยูในรูปของ
ปฏิทิน หนังสือเรียน ภาพโฆษณา ฯลฯ

วัตถุประสงค์
1. ภาพถายชวยเราความสนใจผูเรียน ทํ าใหเกิดความกระตือรือรนที่จะเรียน
2. สามารถนํ าเหตุการณ สถานที่ที่อยูหางไกล เขามาใหนักเรียนไดเห็นในหองเรียนได
3. ภาพถายสามารถนํ ามาดูซํ้ ากี่ครั้งก็ไดตามตองการ หรือใชเพื่อทบทวนเตือนความจํ า
 ทั้งนี้เพราะภาพถ ายเปนสื่อทางตา รับรูไดดีกวาประสาทสัมผัสอื่น ๆ และมีความ 
 คงทนถาวรกวา
4. เหตุการณที่เกิดขึ้นในอดีต สามารถบันทึกเปนภาพถาย เพื่อนํ ามาศึกษาไดทั้งใน
 ปจจุบันและอนาคต
5. สิ่งที่เคลื่อนไหวอย างรวดเร็ว จนสายตาของคนเราไม สามารถมองตามทัน แต
 กลองถ ายภาพสามารถบันทึกการเคลื่อนไหว และนํ าภาพถ ายนั้นมาศึกษาราย
 ละเอียดได
6. เนื่องจากภาพถายมีความคงทน จึงสามารถใชไดทุกโอกาสที่ตองการโดยไมจํ ากัด
เวลา เปนการประหยัดงบประมาณ
7. ภาพถายสามารถทํ าสํ าเนาไดมากเทาที่ตองการ แจกจายไปตามสถานศึกษาอื่น ๆ
ได
8. ภาพถายทํ าใหผูเรียนเขาใจตรงกัน เพียงคํ าอธิบายของครู นักเรียนอาจเขาใจผิด
ได เชน ครูตองการใหนักเรียนรูจักชาง วามีรูปรางอยางไร คํ าอธิบายเพียงอยาง
เดียว จะตองใชเวลามากและอาจเขาใจไมตรงกัน ถาครูนํ าภาพมาใหดู ก็หมด
ปญหา
9. เราสามารถดัดแปลงรูปภาพ เพื่อใชในดานการเรียนการสอน ใหตรงตามจุดมุง
 หมาย เชน นํ าภาพถ ายไปทํ าเปนภาพลายเสน เพื่อการอธิบายที่งายยิ่งขึ้น

สำหรับ
สำหรับนิสิตเอกเทคโนโลยีการศึกษา และบุคคลทั่วไปที่สนใจในการถ่ายภาพด้วยฟิล์ม 

วันพุธที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

เฉลยแบบทดสอบ

เฉลย
ดาวน์โหลดคลิกที่นี่

แบบทดสอบ

 แบบทดสอบ เรื่องการถ่ายภาพด้วยกล้องฟิล์ม (10 คะแนน)

1.เลนส์ขนาดใดที่มีมุมรับภาพใกล้เคียงกับสายตามนุษย์  
  ก. 50มม.                             ข. 75มม.
  ค. 100มม.                           ง. 35 มม.

2.การถ่ายภาพใช้ความเร็วชัตเตอร์1/1000วินาทีได้ภาพเช่นไร
ก. ภาพหยุดการเคลื่อนไหว   ข. ภาพแสดงการเคลื่อนไหว
ค. ภาพชัดลึก                         ง. ภาพ ชัดตื้น

3.F-Stop ใช้เรียกกับอะไร
ก. รูรับแสง (Aperture)    ข.ค่าความไวแสง
ค. Shutter (ชัตเตอร์)        ง.การใส่ฟิล์ม

4.ขั้นตอนในการถ่ายภาพมีกี่ขั้นตอน
ก.2                   ข.4
ค.6                   ง.8

 5. Shutter (ชัตเตอร์) คืออะไร
ก.ส่วนที่ปิดแสงที่เข้าจาก Lens ก่อนตกกระทบฟิล์ม    ข.การปรับระยะชัด
ค.ค่าความไวแสง                                                           ง.ไม่มีข้อใดถูก

6.ความไวแสงของฟิล์ม (ISO)ขึ้นอยู่กับอะไร
ก.เลนส์                        ข.กล้อง
ค.ฟิล์ม                         ง.ท่าถือกล้อง

7.ภาพที่มีลักษณะชัดเฉพาะด้านหน้าเรียกว่า ?

ก. ภาพชัดลึก                   ข. ภาพชัดตื้น
ค. ภาพชัดกลาง                ง. ถูกทุกข้อ

8.การใช้รูรับแสงขนาด F16 จะได้ภาพถ่ายออกมาเช่นไร
ก. ภาพชัดตื้น                 ข. ภาพชัดกลาง
ค. ภาพชัดลึก                  ง. ถูกทุกข้อ

9.การถ่ายภาพชัดลึกเหมาะสำหรับ
ก. การถ่ายภาพวัตถุทรงเลขาคณิต        ข. ภาพบุคคลเดี่ยว 
ค. ภาพบุคคลกลุ่ม                                 ง. ภาพทิวทัศน์

10.การถ่ายภาพที่ดี ควรคำนึงถึง การจัดภาพเพื่อการถ่าย เช่น
ก. องค์ประกอบของภาพ        ข. สมดุลย์ของภาพ
ค. จุดเน้นของภาพ                   ง. ถูกทุกข้อ 

แหล่งที่มา

http://www.tum.in.th/Photography/page64/page64.html
http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/04091202/photo/work.html
http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-4/general_knowledge_about_the_shooting/12.html
http://www.l3nr.org/posts/295627
http://www.tourdoi.com/general/camera/basic.htm

วีดีโอสอนใส่ฟิล์ม



วันพุธที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

ตัวอย่างภาพจากกล้องฟิล์ม


Yashica Electro 35 GX / Kodak Pro Image 100

Yashica Electro 35 GX / Kodak Pro Image 100

Yashica Electro 35 GX / Kodak Color Plus 200

Yashica Electro 35 GX / Kodak Pro Image 100

Yashica Electro 35 GX / Kodak Pro Image 100

การใช้กล้องถ่ายภาพและการการตั้งค่าความไวแสงของฟิล์ม (ISO)

         หลังจากที่ได้ศึกษา เกี่ยวกับอุปกรณ์ในการถ่ายภาพมาแล้ว  ในบทนี้จะพูดถึง การใช้กล้องถ่ายภาพ โดยเริ่มต้นจาก

         1. การบรรจุฟิล์ม
  เพื่อให้กล้องพร้อมที่จะใช้งาน ผู้ใช้ต้องศึกษาจากคู่มือของ กล้องอย่างละเอียด เพราะ กล้องแต่ละชนิดแต่ละรุ่นจะมีกลไกในการทำงานไม่เหมือนกันแต่กล้อง 35 มม. สะท้อนเลนส์เดี่ยว       โดยทั่วไป แล้วจะ ไม่แตกต่างกันเท่าใดนักโดยมีขั้นตอนการบรรจุฟิล์มและการตรวจสอบเป็นขั้นตอน ดังนี้
   1.  เปิดฝาหลังกล้องและดึงก้านกรอฟิล์มกลับขึ้นจนสุดและวางกลักฟิล์มให้เข้า  กับช่องใส่กลักฟิล์ม ระวังอย่าให้นิ้วหรือหางฟิล์มกระทบกับม่านชัตเตอร์ เป็นอันขาด
2. ดึงหางฟิล์มออกจากกลัก และสอดปลายของหางฟิล์มเข้ากับแกนหมุนฟิล์ม ให้แน่นและให้รูหนามของกล้องเข้ากับรูหนามเตยของฟิล์มให้สนิท
3.  ปิดฝาหลังกล้องทดลองขึ้นฟิล์มและกดชัตเตอร์ประมาณ 2 ภาพ  (เพราะเป็นส่วนหัวฟิล์มที่โดนแสงแล้ว)ตรวจสอบความเรียบร้อยของฟิล์ม โดยหมุนก้านกรอฟิล์มกลับให้ตึง เมื่อขึ้นฟิล์มก้านกรอฟิล์มกลับจะหมุนตาม แสดงว่ากล้องถ่ายภาพพร้อมที่จะใช้งานได้แล้ว

หมายเหตุ กล้องถ่ายภาพบางรุ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกล้องที่ถ่ายภาพระบบอัตโนมัติจะมีกลไกในการบรรจุฟิล์มที่สะดวกขึ้น ให้ศึกษาจากคู่มือการใช้กล้องถ่ายภาพชนิดนั้น ๆ

    2. การตั้งค่าความไวแสงของฟิล์ม (ISO)
           ฟิล์มที่มีจำหน่ายในท้องตลาดจะมีค่าความไวแสงที่แตกต่างกันตามความต้องการของผู้ใช้ ดังนั้นก่อน การถ่ายภาพควรต้องตรวจสอบว่าฟิล์มที่ใช้มีความไวแสงเท่าใด โดยดูได้จากกล่องของฟิล์มและที่ม้วนของ   ฟิล์ม หากกำหนดค่าความไวแสงของฟิล์ม ผิดพลาดจะทำการวัดแสงผิดพลาดด้วย จะทำให้ภาพที่ได้อาจจะ มืดหรือสว่างเกินไปก็เป็นได้
           ในกล้องถ่ายภาพ 35 มม.สะท้อนเลนส์เดี่ยวโดยทั่วไปจะมีปุ่มปรับค่าความไวแสงไว้ที่ด้านบนของตัว กล้อง ซึ่งมีตัวเลขแสดงค่าความไวแสงขนาดต่าง ๆ ไว้ ผู้ใช้ต้องปรับให้ค่าความไวแสงให้ถูกต้อง ซึ่งกล้อง แต่ละรุ่นจะมีวิธีการไม่เหมือนกันซึ่งต้องดูรายละเอียดจากคู่มือการใช้กล้องชนิดนั้น ๆ
          ในกล้องถ่ายภาพบางรุ่นจะมีระบบปรับค่าความไวแสงเองโดยอัตโนมัติโดยตัวกล้องจะมีปุ่มสำหรับอ่านค่า
ความไวแสงจากรหัสที่กลักฟิล์มดังนั้นเวลาจับกลักฟิล์มต้องระมัดระวังเรื่องความสะอาดของมือเพราะอาจจะทำ ให้รหัสของฟิล์มมีรอยหรือมีคราบสกปรกจะทำให้การวัดแสงผิดพลาดไปด้วย

การตั้งค่าความไวแสงของฟิล์มที่ตัวกล้อง ให้ตรงกับค่าความไวแสง ของฟิล์มเพื่อป้องกันไม่ให้วัดแสงผิดพลาด